บทที่ 2 หลักการ แนวคิด ทฤษีเกี่ยวกับนวัตกรรม เทคโนโลยี
และสารสนเทศ
ธอร์นไดค์
นักศึกษาและจิตวิทยาชาวเยอรมัน ผู้ให้ทฤษีแห่งการเรียนรู้
ได้เสนอหลักการภารกิจการสอนของครูไว้ 2ประการได้แก่
1 ควรจัดเรื่องหรือสิ่งที่จะสอนต่างๆที่ควรจะไปด้วยกันให้ได้นำเนินไปด้วยกัน
2 ควรให้รางวัลการสัมพันธ์เชื่อมโยงที่เหมาะสม
และไม่ควรให้ความสระดวกใดๆถ้าไม่สามารถสร้างความสัมพันธ์เชื่อมโยงที่เหมาะสมขึ้นมาได้
หลักการเบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีทางการศึกษาไว้ 5 ประการคือ
1 การกระทำสิ่ต่างๆด้วยตนเอง(self-activity)
2 การทำให้เกิดความสนใจด้วยการจูงใจ(interest motivation)
3 การเตรียมสภาพที่เหมาะสมทางจิต(preparation and mentalset)
4 คำนึกถึงเรื่องเอกัตบุคคล(individualization)
5 คำนึกถึงการถ่ายทอดทางสังคม(socialization)
หลักการ/ทฤษี/วิธีการ/แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึก
1 หลักการและทฤษีทางจิตวิทยาการศึกษา
1.1 ทฤษีการเรียนรู้
1.2 ทฤษีความแตกต่างระหว่างบุคคล
1.3 ทฤษีการพัฒนา
2 ทฤษีการสื่อสาร
3 ทฤษีระบบ
4 ทฤษีการเผยแพร่
จากหลักการแลฃะแนวคิดข้างต้นจะเห็นว่าการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาเป็นสิ่งจำเป็นในการจัดการเรียนการสอนในปัจจุบันการจัดทำแผนภาพแผนภูมิหาวัสดุอุปกรณ์ประกอบการเรียนการสอนซึ่งไม่เคยใช้มาก่อนเป็นนวัตกรรมทางการศึกษาการจัดให้มีการสร้างจัดหาวัสดุอุปกรณ์ประกอบการสอนเป็นสิ่งจำเป็นสิ่งจำเป็นในการสอนการจัดให้ครูทำบันทึกการสอนตามลำลับขั้นตอนการสอนตามกิจกรรมการเรียนการสอนโดยสร้างบทเรียนสำเร็จรูปใช้ในการเรียนการสอนอย่างนี้เป็นการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยี